ประวัติสำเร็จลุน, ต้นฉบับภาษาลาว

ชีวประวัติสำเร็จลุน ฉบับ พระอาจารย์มหาผ่อง สะมาเลิก

หลวงปู่สมเด็ดลุน เกิดอยู่บ้านหนองไฮท่า ตาแสงเวินไซ
เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก พ่อซื่อเซียงหล้า แม่ซื่อนางคำบู่ ก่อน
เจ้าปู่สิลงมาเกิด นางคำบู่ผู้เป็นแม่ได้นิมิดฝันว่า มีดาวสะ
เด็ดลงมแต่เมืองฟ้าตกลงมาใส่กางเฮือน แล้วดาวที่ตกลง
มานั้นเกิดเป็นตู้หนังสือ ต่อจากมื้อนิมิดคำฝันมาหลายมื้อนางคำบู่ก็
ทังคันถือพามาน อยู่ได้ ๑๐ เดือนปาย ก็ได้ปะสูดลูกมาแม่นปี
พ.ศ. ๒๓๙๖ (ค.ศ. ๑๘๕๐) พ่อแม่ของเพิ่นได้ให้ซือว่า ท้าวลุน ท้าว
ลุน เมื่อเกิดได้ใหญ่มามีปกกะตินิไส เป็นคนเจ้าละเบียบเฮ็ด
หยังคันบ่คักแม่นบ่เอา เมื่อจะเลินใหญ่ขึ้นมาอายุผ่านพ้นไปได้ ๑๒
ปีปายเลิ่มเข้าสู่เวียกงาน คือกับเด็กน้อยซาวบ้านทั่วไป ผู้ใหญ่ใน
คอบคัวก็ให้เด็กซายลุนแอบไถนา แต่เด็กซายลุนไถนาบ่เฮ็ด
คือผู้อื่น ๆ พอเอาไถใส่คอควายแล้วก็ไล่ไปเลื่อย ๆ เอาแต่ควายสิ
พาไป ก็เลยถืกผู้ใหญ่เว้าว่า คันขี้ค้านหลายหนีไปบวดสา ต่อมา
พ่อแม่ได้เอาเข้าไปฝากฝังให้บวดเป็นเนน อยู่นำอาจานวัดหนองไฮ
ท่า (อาจานองนั้นซื่อหยังผู้เล่าบ่ได้บอกไว้ ฝากให้ผู้อ่านค้นตื่ม)
ท้าวลุนเมื่อได้บวดแล้วมีปกกะติสันเข้าคาบเดียว ตะหลอดมา

ดาวสะเด็ด – (ดาวเสด็จ) ตาวตก
กางเฮือน – กลางเรือน
มื้อ – วัน
คำฝัน – ความฝัน
นิมิด – นิมิต
ทังคัน – ตั้งครรภ์
ถือพามาน – อุ้มท้อง
ปะสูด – (ประสูติ) คลอด
ปกกะติ – ปกติ
เลิ่ม – เริ่ม
เวียกงาน – การงาน , การทำงาน , งาน
เอาแต่ – แล้วแต่
ขี้ค้าน – เกียจคร้าน , ขี้เกียจ , ไม่ขยัน
บวด – บวช
เนน – เณร
อาจาน – อาจารย์
หยัง – อะไร
ตื่ม – เพิ่ม , เพิ่มเติม
สันเข้าคาบเดียว – ฉันข้าวคาบเดียว

และมีปกติเฮ็ดเวียกแต่ละแนว แม่นแต่การนุ่งสบงทรงผ้าคลุม
ก็เป็นระเบียบ แต่มีจุดพิเศษอันหนึ่งของจัวลุนคือ: นับแต่มื้อบวช
เข้ามาได้ปีปลายบ่มีจ่ม บ่มีอ่านหนังสือจักเทื่อ มีแต่ฉันจังหันแล้ว
ก็เอาหนังสือใส่คัมภร์ขึ้นไปนอนอยู่แต่ในธรรมมาส (นอกจากทำ
กิจวัตรตามปกติ) ค่ำมาก็เข้าบ่อนนอน บ่จ่มหนังสือนำเพิ่น
จักเทื่อ เมื่อเป็นแนวนั้นอาจารย์เจ้าวัดจึ่งเอิ้นไปถามและเว้า
ว่า: เป็นหยังจัวลุนเจ้าคือจังว่าบ่เห็นเฮียนสูดนำหมู่จักเทื่อ ? จัก
น้อยผู้อื่นซิว่ากินข้าวเสียข้าวกินปลาเสียปลาซื่อ ๆ ได๋ หรือว่าเจ้าได้อยู่
บ่ ? ทางอ้ายจัวลุนก็ตอบอาจารย์ว่า: พอได้อยู่ ทางฝ่ายอาจารย์ก็
เลยเว้าว่า: ให้เจ้าจ่มลองเบิ่งดู๋? เจ้าเฮียนหยังได้แหฺน่ จาก
สัตทา , สังคหา , ปาฎิโมกข์ , สนธิมูลก็ได้หมดบ่ข้องบ่คา แหฺม่น
แต่อาจารย์เองก็บ่ได้เท่าจัวลุนซ้ำ ท่านอาจารย์ก็มีความงึดง้อ
อัศจรรย์ จัวลุนนี้ลาวเฮียนมาจากไส แนวใดก็ได้บ่ข้องบ่คา
จากนั้นความดีความงามก็ลือซ่าปรากฏขึ้นมาทุกมื้อ อยู่ต่อมากาละ
เวลาก็ล่วงเลยไปอีกหลายปี จนอ้ายจัวลุนก็อายุผ่านพ้นไปได้
18 – 19 ปี แล้วในระหว่างนั้นมีอาจารย์ใหญ่วัดนาหล้ง (ชื่อหยังก็บ่
แจ้งเพราะผู้ค้นคว้าข้อมูลมาบ่ได้บอกไว้จึ่งขอฝากท่ายผู้อ่านค้น
ตื่ม) บ้านนาหล้งกับบ้านเวิยไซ อยู่คนละฟากน้ำของ , บ้านเวินไซ
…………………………………………………………..

เฮ็ดเวียก – ทำงาน
แต่ละแนว – แต่ละอย่าง , แต่ละประการ
จัว , จั๋ว – เณร เป็นคำที่ใช้เรียกผู้บวชเณรทุกรูปว่า จัว ใช้นำหน้าชื่อจริง ซึ่งภาคอิสานและลาวชอบใช้
มื้อ – วัน
บ่มีจ่ม – ไม่มีท่อง
[ จ่ม ใช้กับการเรียนจะหมายถึง ท่องบ่นหนังสือ , เล่าบ่นหนังสือ ]
[ จ่ม ใช้ทั่วไปคือ บ่น , ต่อว่าจู้จี้พิรี้พิไร ]
[ จ่ม ใช้กับการเรียนพระธรรมจะหมายถึง สวด , ท่องพระสูตร , ท่องคาถา]
จักเทื่อ – ซักที , ซักครั้ง ซักคราว , สักที , สักครั้งสักคราว
จังหัน – ฉันอาหาร , ฉันเช้า หรือ ฉันเพล
บ่อนนอน – ที่นอน
แนวนั้น – อย่างนั้น , แบบนั้น
เจ้าวัด – เจ้าอาวาส
เอิ้น – เรียก
สูด – สวด , สูตร
[ เฮียนสูด – สวดท่อง , เรียนพระสูตร ]
นำหมู่ – พร้อมกับเพื่อน ๆ , ด้วยกันกับเพื่อน ๆ
กินเข้าเสียเข้า กินปาเสียปา – บวชเปลืองผ้าเหลือง , บวชเปลืองข้าวสุก
ซื่อ ๆ , สื่อ ๆ – เฉย ๆ
อ้ายจัว – พี่เณร
มูนน้อย , มูนกลาง -( มูลน้อย , มูลกลาง) พระคัมภีร์มูลกัจจายนสูตร เป็นตำราไวยากรณ์ภาษาบาลี
สัดทา , สังคะหา – (สัทธา , สังคหะ) ชื่อพระคัมภีร์พระอภิธรรมปิฎก
สนมูน – (สนธิมูล) ชื่อพระคัมภีร์ว่าด้วยหลักการแต่งประโยคและแปลภาษาบาลี
ซ้ำ – เป็นคำห้อยท้ายการพูดมีความหมายคล้ายคำว่า น่ะ ในภาษาไทย
บ่ข้องบ่คา – เป็นสำนวน หมายถึง ไม่ติดขัด
งึดง้อ – อัศจรรย์ใจ , แปลกใจอย่างยิ่ง , ประหลาดใจอย่างยิ่ง , หลากใจอย่างยิ่ง
ลือซ่า – เล่าลือ , เลื่องลือไปไกล , โจษขานไปทั่ว ,
[ ลือซ่าปากด – ลือชาปรากฏ ( ชื่อเสียงขจรขจายไปทั่วทุกสารทิศ ) ]
ตื่ม – เพิ่ม , เพิ่มเติม
น้ำของ – คำเรียกชื่อ แม่น้ำโขง ของชาวอิสานและชาวลาว

อยู่ฟากเบื้องตาเว็นตก บ้านนาหล้งอยู่เบื้องตาเว็นออก แต่บ่ไกล
เกินประมาณเป็นบ้านเคยฮ่วมบุญฮ่วมทานกันอยู่เป็นประจำ อา
จารย์ใหญ่บ้านนาหล้งที่ว่านี้ ได้เจ็บไข้ได้ป่วยลงท่านเองคง
พิจารณาเห็นว่าสังขารร่างกายคงจะหมดลงในเวลาต่อไป อีก
บ่ดนเพิ่นจิ่งครองผ้าใส่สังฆาฏิมัดอกให้เป็นที่ระเบียบแล้ว เพิ่นจึง
ได้สั่งพระสงฆ์สามเณรพร้อมทั้งญาติโยมไว้ว่า: เมื่อข้อยๆได้ มร
ณาภาพไปแล้ว ห้ามบ่ให้แตะต้องร่างกาย และห้ามบ่ให้เอาน้ำ
ล้างหน้าเป็นเด็ดขาด เมื่อเพิ่นสั่งไว้คือแนวนั้น พระสงฆ์และญาติ
โยมก็บ่กล้าล่วงเกิน เป็นแต่จัดหาหีบโลงใส่ไว้ตามธรรมดา
แล้วก็คบงันกันไปตามประเพณี ในระหว่างนี้อ้ายจัวลุนก็ยังบ่
ทันได้บวชเป็นพระคือยังเป็นจัวอยู่ เมื่อได้ข่าวว่าอาจารย์ใหญ่วัด
นาหล้ง มรณภาพก็ตั้งใจไปเพื่อสมมาคารวะกราบไหว้ตาม
จารีตประเพณีอันดีงาม
ในเมื่อไปถึงแล้วก็ฮ้องขอนำครูบาอาจารย์ และญาติโยม
ว่า: ให้ขอเปิดเบิ่งหน้าเพิ่นแหฺน่ และ ก็ได้รับอนุญาตตามความ
ฮ้องขอ, ครั้นเปิดออกแล้วอ้ายจัวลุนก็เลยเห็นหนังสือก้อมน้อย ๆ
เหน็บอยู่ที่ขี้แฮ้ของอาจารย์นาหล้งผู้ที่มรณภาพอยู่ในโลงนั้น เมื่อ
อ้ายจัวน้อยเห็นก็เลยบายเอาไปเลย (ตามการเล่าขานกันว่า
หนังสือก้อมที่ว่านั้น แหฺม่นเป็นตำราที่ตกทอดมาจากพระครูหลวง…..

บ่อน – ที่ , แห่ง
หนังสือก้อม – [ ก้อม – สั้น ] หนังสือใบลานขนาดสั้นยาวประมาณ ๑ ฟุต หรือสั้นกว่าเล็กน้อย
ใช้จารึกตำรายา , เวทมนตร์คาถา , โหราศาสตร์ , บทสวดเชิญขวัญเสดาะเคราะห์ ฯลฯ
รวมทั้งเรื่องเล่าทั่ว ๆ ไป
บ่ดน – ไม่นาน
แนวนั้น – แบบนั้น , อย่างนั้น
สมมา – ขอโทษ , ขออภัย
คบงัน – ฉลอง , จัดงานฉลอง
ขาบไว้ – กราบไหว้
ขี้แฮ้ – รักแร้
บาย – แตะต้อง , หยิบ , จับ
โพนสะเม็ก ที่อาจารย์นาหล้งได้มาจากเมืองจำปาสัก) ในระ
หว่างนั้นอายุของอ้ายจัวลุน ก็ไกล้จะเถิงเขตบวชเป็นพระได้
แล้ว แต่ในเมื่อเพิ่นได้หนังสือก้อมอันนั้นแล้ว เพิ่นก็เลยไปทาง
อื่นบ่ได้คืนมาบ้าน (ไปอยู่บ้านใดก็บ่แจ้ง ขอฝากผู้อ่านไว้ค้นตื่ม)
หนีไปประมาณปีปลายจึงกลับคืนเมือ ในวันเพิ่นกลับมาฮอดบ้านนั้น
แม่นวันปวารนาออกพรรษา เดือน 11 เพ็ง เพิ่นขี่แพล่อง
น้ำมาในเวลาตอนเช้ามาจอดอยู่ บ้านเวินไซใหญ่ แล้วขึ้นมา
วัด แล้วเพิ่นก็เว้าว่า: จะมาออกพรรษาอยู่ที่นี่ และ จะอยู่วัด
เวินไซนี้ต่อไป และ พวกครูบาอาจารย์ และ ญาติโยม บ้านเวินไซ
ก็ยินดีต้อนรับเพิ่นตามความพอใจของเพิ่นและชาวบ้านเว้ากัน
ว่า: จะพากันสร้างกุฏิให้เพิ่นอยู่แต่เพิ่นก็เว้าว่า: บ่ให้เฮ็ดหลังใหญ่
ให้เฮ็ดกะตูบน้อย ๆ ให้เพิ่นอยู่เพิ่นจึงพอใจ ญาติโยมทั้งหลายก็
ปฏิบัติตาม (ต่อ จากนี้เข้าใจว่าพวกญาติโยมพร้อมทั้งคณะสงฆ์
คงจะได้พากันทำอุปสมบทให้เพิ่เป็นพระภิกษุ ตามจารีต
ทางพระวินัยแล้ว แต่ว่าบ่อนเพิ่นบวชนั้นบวชอยู่ว้ดใด ? ไผเป็น
อุปัชฌาย์อาจารย์สูตร ก็บ่แจ้ง และ เพิ่นได้ถืกฮดตื่มยศขึ้นเป็นสม
เด็ดหลวงปู่สมเด็ดลุนอยู่ไส? ในปีใด? ไผเป็นเจ้าศรัทธา? ก็
บ่แจ้งอีก จิ่งขอฝากไว้กับท่านผู้อ่านให้ช่วยค้นคว้าตื่มอีก จะ
เป็นประโยชน์ในขั้นต่อไป)

…………………………………

เพิ่น – ท่าน , เขา (สรรพนามบุรุษที่ ๓)
เถิง – ถึง
คืนเมือ – กลับ , กลับมา
ฮอด – ถึง
แม่น , แหฺม้น – ใช่ , เป็น
เพ็ง – เพ็ญ , จันทร์เต็มดวง
เว้า – พูด , บอกกล่าว
เฮ็ด – ทำ , สร้าง
กะตูบ – กระต๊อบ , กระท่อม
[ กะตูบน้อย ๆ – กระตีอบ หรือ กระท่อมหลังเล็ก ๆ ]
บ่อน – ที่ , แห่ง
ไผ – ใคร (สรรพนามบุรุษที่ ๓)
อาจานสูด (อาจารย์สูตร) – พระคู่สวด , พระกรรมวาจาจารย์
ถืก – ถูก
บ่แจ้ง – ไม่ทราบ , ไม่รู้
ฮด , หด – รด
ฮดตื่มยด – พิธีรดน้ำเพิ่มยศของพระ
[ ฮดสรง – เป็นธรรมเนียมการเลื่อนยศชั้นพรรษาหรือยศศักดิ์ของพระภิกษุคล้ายกับการ
สถาปนาพระราชาคณะของไทย แต่ของทางภาคอีสานและฝั่งลาวจะใช้การอาบน้ำ
โดยใช้ ฮางฮด (รางรดน้ำ) พระที่ได้การ ฮดสรง จะไปนั่งอยู่ปลายราง แล้วบรรดา
ลูกศิษย์ตลอดจนผู้มีบุญหนักศักดิ์ใหญ่จะตักเอาน้ำที่ผสมด้วยขมิ้นส้มป่อยเครื่องหอม
เทลงในรางรดน้ำให้น้ำไหลตามรางไปตกรดตัวพระภิกษุรูปนั้น พระภิกษุที่ได้รับการฮดสรง
จะได้รับคำนำหน้าว่า ซา หรือ ญา จะเป็น ญาพ่อ ญาปู่ ญาคู(ครู) ญาเจ้า ก็แล้วแต่อายุพรรษา
มีผู้อธิบายไว้ว่าเมื่อพระภิกษุที่เป็น ญา ได้รับการฮดสรงเลื่อนขั้นบ่อย ๆ ก็จะได้รับ
การเคารพมาก เทียบเท่าพระราชาคณะของไทย ตำแหน่งสุดท้ายคือ สำเร็จ หรือ สมเด็จ
(ขออภัยที่ความจำลางเลือนเพราะอ่านมานานมากแล้วจำได้แค่นี้จริง ๆ)

ความรู้เพิ่มเติม

จัว – เป็นคำที่ใช้ใช้เรียกผู้เป็นเณร
หม่อม – เป็นคำที่ใช้เรียกพระบวชใหม่ อายุพรรษาน้อย
ซา , ญา – เป็นคำที่ใช้เรียกพระภิกษุที่มีอายุพรรษามาก หรือผู้ที่ได้ผ่านการฮดสรง
เซียง – เป็นคำนำหน้าชื่อที่ใช้เรียกผู้ชายที่ผ่านการบวชเณรและสึกออกมาแล้ว เช่น เซียงดา เซียงเหมี้ยง
ทิด , ทิต – เป็นคำนำหน้าชื่อที่ใช้เรียกผู้ชายที่ผ่านการบวชเป็นพระและสึกออกมาแล้ว เช่น ทิดมี , ทิดทอง ]

อยู่ไส – อยู่ที่ไหน , อยู่ตรงไหน
เจ้าสัดทา (เจ้าศรัทธา) – เจ้าภาพของงานบุญงานกุศล

แต่เว้าเถิงการปฏิบัติของเพิ่น แม่นเคร่งครัดทางพระวินัย
สิงของเงินคำแม่นบ่อเอาหยังหมด ความบกพร่องที่ถือว่าเป็นความ
ผิด มีแต่กินเหล้าอย่างเดียว มีนักปราชญ์อาจารย์ผู้หลักผู้ใหญ่หลายคนมา
ส้อถามเพิ่น แต่เพิ่นก็บ่คุงบ่อคาจักเทื่อ

ในสมัยนั้นแม่นมีหอไตร หนังสือใบลานโตธรรม โตขอม มีอยู่
ตามวัดต่าง ๆ มีอยู่หลายบ่อน ท่านอาจารย์หลวงปู่สมเด็ดลุน ได้ขึ้น
ไปเบิ่งหมด อยู่ต่อมาครางหนึ่ง เพิ่นแสดงความมหัศจรรย์ให้
ปรากฏคือ: เพิ่นไปบอกสามเณรเอาหมากหุ่งมาตำ เพิ่นเองแม่น
ไปเอาหมากนาวและกะปิอยู่กรุงเทพมาใส่ ตำหมากหุ่งยังบ่อทัน
แล้ว ก็พอดีเพิ่นมาฮอด ทันเอาใส่ตำหมากหุ่งนั้น และ ต่อมาอีก
ครั้งหนึ่ง เพิ่ไปเอาบุญบั้งไฟอยู่บ้านด่านปากมูล เซิ่งมีไลยะทาง
ไกลประมาณ 30 กว่ากิโลเมตร เวลาออกเดินทางนั้นแม่นเวลา
บ่าน 2 โมง และเวลาไปฮอดนั้นก็ยังแม่น 2 โมงคือเก่า แนวนี้ก็มี
ญาติโยมที่ติดตามไปนำก็มีหลายคน แต่เพิ่นให้หฺย่างก่อนเพิ่น
และการไปนั้นก็บ่ได้เหาะได้บินไปแม่นพากันหฺย่างไปธรรมดา
แต่หากว่าเวลาไปฮอดก็ยังแม่นบ่าย 2 โมงคือเก่า เวลาไป
ทางน้ำก็ขี่เรือพายไป ลางเทื่อเวลามีฝนมีลมน้ำฟองก็บ่ย้าน
เพราะฝนลมฟองหากยะหว่างให้เพิ่นไปได้ไปโดยสะดวกดังนี้ก็มี
ย้อนเหตุการณ์ต่าง ๆ ดังกล่าวมานั้นก็มีข่าวเล่าลือกันไปทั้วทิศานุ(ทิศ)
…………………………………………

เงินคำ – เงินทอง , ของมีค่า , ทรัพย์สิน
ส้อ – ถามซักไซร้ไล่เรียง
บ่คุงบ่คา , ไม่ข้องไม่คา – ไม่มีติดขัด
จักเทื่อ – สักที , สักครั้ง , สักหน
โตทำ , โตขอม – ตัวอักษรธรรม , ตัวอักษรขอม ที่ใช้จารลงในใบลาน
หลายบ่อน – หลายที่ , หลายแห่ง
หมากหุ่ง , หมากฮุ่ง – มะละกอ
[ หุ่ง , ฮุ่ง – สว่าง (มะละกอเวลาผลสุกคาต้นจะเห็นเหลืองอร่าม
หรือสุกแดง เด่นมาแต่ไกล คนอีสาน-ลาว จึงนำลักษณะเด่นนี้มาตั้งเป็นชื่อ
จึงเรียก มะละกอ ว่า หมากหุ่ง , หมากฮุ่ง (หมากสว่าง) ]
ยังบ่ทันแล้ว – ยังไม่ทันเสร็จ
ไลยะทาง – ระยะทาง
ไปฮอด – ไปถึง
คือเก่า – เหมือนเดิม
แนวนี้ – แบบนี้ , อย่างนี้
หฺย่าง , ญ่าง , ย่าง – เดิน
น้ำฟอง – คลื่นน้ำ
บ่ย้าน , บ่ย่าน – ไม่กลัว
ลมฟอง – คลื่นลม
ยะหว่าง , ญะหว่าง , หฺย่ะหว่าง – แหวกออกเป็นช่อง

ทิศ อย่างกว้างไกลจนซ่าลือไปฮอดเมืองอุบลดั่งมีคราวหนึ่ง ท่าน
เจ้าคุณธรรมบาล อยู่เมืองอุบลได้ยินคำซ่าลือคือแนวนั้น ก็คิดอยาก
จะไปสืบเอาความจริง จึงได้นำพาคณะออกเดินทาง การ
เดินทางไกลในสมัยนั้นยวดยานพาหนะ รถราแม่นขาดเขิน
ต้องได้ไซ้ซ้างเป็นพาหนะเดินทางไปได้ประมาณเคิ่งทาง (คำ
ว่าเคิ่งทางนั้นอยู่ระหว่างใด? ก็บ่แจ้งจึ่งขอฝากไว้ให้ท่านผู้อ่าน
ช่วยกันค้นตื่ม) ในไลยะเดียวกันนั้นทางฝ่ายหลวงปู่สมเด็ดลุน
เพิ่นจะฮู้ด้วยญานวิถีอันใด(ผู้เล่าต่อมาและผู้เขียนเองก็บ่
สามารถรู้ได้) เพิ่นได้เตรียมตัวไปฮับต้อนอยู่เคิ่งทางและไปผู้เดียว
การเตรียมตัวการฮับต้อนของเพิ่น แม่นเพิ่นครองผ้าใส่สังฆา(ฏิ)
และ มัดเอิกอย่างดี และ พายง้าวสองดวงเบนซ้ายเบนขวา
แล้วก็ออกเดินทาง พอดีไปสวนกันอยู่เคิ่งทาง พอดีท่านเจ้าคุณ
ใหญ่จากอุบล นั่งอยู่เทิงหลังซ้างเห็น และ คณะที่ไปนำกัน
ไผ ๆ ก็เห็นเพิ่นจึงท้วงว่าพระจั่ไดหว่าถืออาวุธเว้ย? ทางฝ่าย
หลวงปู่สมเด็ดลุนก็ตอบสวนคำขึ้นไปว่า: มาฮับนายฮ้อยซ้าง
ก็ก็ต้องเฮ็ดแนวนี้แล้ว พอเว้าแล้วก็หายแวบไปเลย เมื่อท่าน
เจ้าคุณใหญ่ได้ฟังคำตอบคือแนวนั้น ก็วากกลับมาเบิ่งแต่ก็บ่เห็น
แล้ว ท่านเจ้าคุณจึงถามบรรดาคณะไปนำกันว่า: ครูบาพาย
ง้าวว่างอย่านี้ไปทางใดแล้ว ? ไผ ๆ ก็ตอบว่า : ก็เห็นกายไปนี้

ปล. ว่างอย่านี้ คำนี้น่าจะพิมพ์ผิด น่าจะเป็น หฺย่างหนี (เดินหนี)

…………………………………………………………

ซ่าลือ – เล่าลือ , เลื่องลือไปไกล , ขจรขจาย
แนวนั้น – อย่างนั้น , แบบนั้น , เช่นนั้น
ขาดเขิน – ไม่พอ , มีไม่เพียงพอ
เคิ่ง , เกิ่ง – ครึ่ง
ไลยะ – ระยะ

วาก , งวก – วก , หัน , เหลียว
[ วากกับมาเบิ่ง – วกกลับมาดู , เหลียวกลับมาดู , หันกลับมาดู ]

ฮับต้อน – ต้อนรับ

เอิก – อก , หน้าอก
[ มัดเอิก – รัดอก , มัดอก ]

พาย – สะพาย

ดวง – เล่ม (ลักษณะนามของมีด ของมีคมภาคอีสานใช้ว่า ดวง)
[ ง้าวสองดวง – ง้าวสองเล่ม ]
[ ตาวสองดวง – ดาบสองเล่ม ]

เบน – เบี่ยง , เฉวียง
[ เบนซ้ายเบนขวา – เฉวียงซ้ายเฉวียงขวา ]

เทิง – บน , ด้านบน , ข้างบน
นำกัน – ด้วยกัน
จั่งใดหว่า – อย่างไรหว่า , แบบใดหว่า , ประเภทไหนหว่า
นายฮ้อยซ้าง – คนขายช้าง
เฮ็ดแนวนี้ – ทำอย่างนี้ , ทำแบบนี้
กาย – เกิน , ผ่านไป , เลยไป

แล้ว บาดเหลียวนำซ้ำพัดบ่เห็นบ่ฮู้ว่าหายไปทางใดไววาแท้ ๆ
ท่านเจ้าคุณใหญ่แม่นเพิ่นเข้าใจแล้วจึ่งเว้ากับคณะว่า: ครูบา
องค์นี้ละคือพระสมเด็ดลุน ที่เขาซ่าลือกันทั่วไปที่พวกเฮามี
จุดประสงค์จงใจมา เพื่อสืบหาความจริงบัดนี้พวกเฮาเห็นตัวจริง
แล้ว พวกเฮากลับได้แล้ว ถ้าขืนไปก็เสียเหลี่ยมให้เขา เพราะเขา
พายง้าวธรรมดา เซิ่งเป็นวัตถุที่บ่มีจิตวิญญาณ ฝ่ายพวกเฮา
ซ้ำพัดใช้สัตว์เป็นพาหนะ เว้าแล้วก็พากันกลับ

ตอนนี้แม่นแสดงให้เห็นบทบาท ความรู้ ความฉ
ลาด ความปรีชาสามารถของหลวงปู่สมเด็ดลุนเหนือกว่าศัตรู
แสดงออกอยู่บ่อนใช้วาทะตอบคำทักท้วงของศัตรูเพียงสั้น ๆ
ก็สามารถเฮ็ดให้มีความสงสัยหายสงสัยในเวลาชั่วพริบตาเดียว
และมีอีกครั้งหนึ่ง หลวงปู่สมเด็ดลุนกับจัวน้อยองค์หนึ่งเขาไป
กิจธุระอยู่ในเมืองปากเซ จะว่าเพิ่นหิวน้ำหรือแนวใดก็บ่รู้ เพิ่น
ได้แว่เข้าไปในร้านขายเหล้าและซื้อเอาเหล้ามากิน พอกินไป
หมดเคิ่งแก้ว ก็ถืกโปลิศ (ตำรวจ) ไปจับเอาแก้วเหล้า และ
นิมนต์เพิ่นไปหานายที่เป็นคนฝรั่ง เพราะเวลานั้นเมืองลาวเฮา
ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่ง พอไปถึงโปลิศก็รายงานว่า : ครูบาองค์
นี้กินเหล้า ฝรั่งจึงถามว่า: ญาครูเป็นหยังจึงกินเหล้า? บ่ฮู้ว่าพระ
เจ้าเพิ่นห้าม? หลวงปู่สมเด็ดลุนได้ตอบว่า: อาตมาฮู้อยู่ว่าเพิ่น

………………………………………..

บาด – ครั้ง , คราว , ครา , ที , หน , ครั้น
[ บาดนี้ – ครั้งนี้ , คราวนี้ , ทีนี้ , หนนี้ ]
[ บาดเหลียวนำ – ครั้นเหลียวมองตาม ]

[b]ซ้ำพัด , สำพอ – (คำนี้หาคำแปลที่เหมาะสมตรง ๆ ยังไม่ได้น่าจะคล้าย ๆ คำว่า สมพอว่า )
ไววา – รวดเร็ว , เร็วไว
แท้ ๆ – จริง ๆ
จัวน้อย – เณรน้อย
แว่ – แวะ

นาย – ขุนนาง , ข้าราชการ , เจ้านาย , หัวหน้า เจ้าหน้าที่ตำรวจ (แปลตามแต่บริบทของประโยค)
[ ขอให้ได้เป็นเจ้าเป็นนาย – ขอให้ได้เป็นผู้มียศถาบรรดาศักดิ์เป็นข้าราชการ ]
[ อย่าขี้ดื้อนายสิมาจับ – อย่าซุกซนเดี๋ยวตำรวจจะมาจับ ]

ญาคู , ยาคู – คำเรียกพระสงฆ์ที่มีอายุมากผ่านการฮดสรงมาแล้ว หรือพระสงฆ์ที่ได้รับสมณศักดิ์ คล้าย ๆ ท่านเจ้าคุณ ของไทย
แต่คำว่า ญาคู ของอีสานใช้กับพระสงฆ์ที่มีอายุพรรษามากก็ได้ ใช้กับพระที่มีสมณศักดิ์ก็ได้
แต่คำว่า ท่านเจ้าคุณ ของไทยใช้กับพระที่ได้รับสมณศักดิ์เท่านั้น ไม่นับรวมรูปอื่น ๆ ที่ไม่มีสมณศักดิ์

ห้ามแต่ยังบ่ฮู้ว่าเป็นหยังเพิ่นจึงห้าม อาตมาอยากฮู้อันนั้นจึง
มาซอกหากิน แต่ก็ยังไม่ทันได้กินซ้ำ ฝรั่งจึงว่า ท่านกินเหล้า
แล้วติ้! โปลิศจึงเอาท่านมา พร้อมทั้งหลักฐานคือแก้วเหล้าที่
ท่านกิน ฝ่ายหลวงปู่ก็ยังปฏิเสธว่า บ่ทันได้กินอันแก้วนั้นอาจ
จะเป็นแก้วเหล้าจริง แต่ว่าน้ำอยู่ในแก้วอาตมากินไปแล้วนั้น
มันบ่แม่นเหล้า แล้วฝรั่งมันก็ถามตื่มอีกว่า: ถ้ามีเหล้าญาครูก็จะ
กินบ่? ท่านเจ้าปู่ก็ตอบว่า อาตมากับท่านแล้วเดว่า อา-
ตมามาหากินเหล้า ฝรั่งจึงได้ฮ้องข้อย(คนรับใช้) ไปไขตู้เอา
เหล้าโรมชนิดแก้วสี่เหลี่ยมออกมาไข แล้วส่งให้ฝรั่ง แล้วฝรั่งก็
เอามาตั้งเทิงโต๊ะ เซิ่งหน้าของหลวงปู่ แล้วบอกว่า:คันครูบาซิกิน
ก็กินโลด หลวงปู่ก็ตอบว่า: ขอบใจ แล้วก็จับแก้วเหล้านั้นมา แต่
บ่ถอกใส่จอก แม่นยกขึ้นถอกใส่ปากเลย จนหมดเคิ่งแก้วแล้ว
ก็วางตั้งลงไว้บ่อนเก่า ต่อหน้าฝรั่งพร้อมกับเว้าว่า ท่านนี้บาป
ตัวะครูบา ฝรั่งก็ปฏิเสธว่า บ่ได้ตัวะอันนี้แม่นแก้วเหล้าแท้ ๆ
ฝ่ายหลวงปู่สมเด็ดลุน ก็เว้าต่อว่า แม่น แก้วนี้อาจแม่นแก้ว
เหล้า แต่น้ำในแก้วมันบ่แม่นเหล้า บ่เซื่อก็เชิญท่านดื่มเบิ่ง! เมื่อ
ฝรั่งถืกหลวงปู่ปฏิเสธคือแนวนั้น ลาวก็เหลี่ยวเบิ่งหน้าหลวงปู่เห็นว่า
บ่มีหยังผิดปกติเพราะธรรมดาคนกินเหล้าหน้าตาจะต้องผิดป-
กติ ลาวจึงจับเอาแก้วมาถอกใส่จอกกิน ก็รู้สึกว่าบ่เป็นเหล้า

………………………

บ่ฮู้ – ไม่รู้
เป็นหยัง – เป็นอะไร , เป็นเพราะอะไร
เพิ่น , เพิ้น – ท่าน
อันนั้น – ดังนั้น , สิ่งนั้น

ซอก – ค้น , เสาะหา , แสวงหา
[ซอกหากิน – ค้นหามากิน , เสาะแสวงหามากิน]
[ข้อยจื่อบ่ได้ว่าเอาไว้ได๋เดี๋ยวสิซอกให้ – ฉันจำไม่ได้ว่าเอาไว้ไหนเดี๋ยวจะค้นให้]

ซ้ำ – คำลงท้ายความเพิ่อเสริมกริยาของข้อความให้เด่นชัด ใช้ในเชิงบอกเล่ากึ่งปรารภ
คล้ายกับคำว่า ซะอย่างนั้น , ซะยังงั้น ของไทย
[ว่าสิไปเที่ยวแต่บ่ได้ไปซ้ำ – ว่าจะไปเที่ยวแต่ไม่ได้ไปซะอย่างนั้น]
[ว่าสิกินขนมแต่เฮ็ดเหี่ยลงดินบ่ได้กินซ้ำ – ว่าจะกินขนมแต่ทำหล่นลงดินเลยไม่ได้กินซะอย่างนั้น]
[ได้เบี้ยผักมาลืมปลูกเลยตายซ้ำ – ได้ต้นอ่อนผักมาลืมปลูกเลยตายก่อนซะอย่างนั้น]

ติ้ , ตี้ – คำลงท้ายความประโยคคำถามอย่างคำว่า หรือ , แล้วหรือ , แล้วละซิ ของไทย
[กินแล้วตี้ – กินแล้วหรือ]
[ไปเที่ยวมาแล้วตี้ – ไปเที่ยวมาแล้วละซิ]

แก้ว – ขวด
[แก้วเหล้า – ขวดเหล้า]
[แก้วสี่เหลี่ยม – ขวดแก้วทรงสี่เหลี่ยม]

ถามตื่ม – ถามเพิ่ม

เด , เด้ , ได๊ , ได๋ – คำลงท้ายความเหมือนอย่าง นะ , ละนะ ของไทย
[บอกแล้วเด – บอกแล้วนะ]
[ไปมาแล้วได๋ – ไปมาแล้วนะ]
[ข้อยกินเด๊ – ฉันกินนะ]
[อย่าเซมาทางพี้เด้ – อย่าเซมาทางนี้น่ะ]

ฮ้อง – ส่งเสียงดัง , ตะโกน , ตะโกนเรียก , เรียกร้อง , ร้องไห้
[เจ้ามาฮ้องหยังอยู่นี่ – คุณมาตะโกนอะไรอยู่ตรงนี้]
[เจ้ามาฮ้องหาผู้ได๋ – คุณมาตะโกนร้องเรียกใคร]
[หมาข้อยกัดไก่เจ้า เจ้าซิฮ้องเอาท่อใด – หมาของฉันกัดไก่คุณ คุณจะเรียกร้องเอาเท่าไหร่]
[อย่าฮ้องเด้ออีหล้าอีแม่ไปนาเดียวกะมา – อย่าร้องไห้นะหลานรักแม่ไปนาเดี๋ยวก็มา]

ปล. ลูกหล้า , อี่หล้า , บักหล้า , หำน้อย , อี่น้อย , บักน้อย , หล้าคำแพง
เป็นคำที่พ่อแม่เรียกลูก หรือผู้สูงอายุเรียกเด็ก ๆ ด้วยความรักเอ็นดู ในความหมายว่า ลูกรัก , หลานรัก

ข้อย – น. ข้ารับใช้ , คนรับใช้
[เจ้าไปเป็นข้อยอยู่บ้านใด – เธอไปเป็นคนรับใช้อยู่บ้านไหน]
{ข้อยข้า – คนรับใช้ , ลูกน้อง}
[เป็นข้อยข้าเขาปานใดสิตั้งโตได้ – เป็นลูกน้องเขาเมื่อไหร่จะตั้งตัวได้]
{ขี้ข้อย – คำเรียกข้ารับใช้อย่างดูหมิ่น ตรงกับ ขี้ข้า ของไทย}
[อีขี้ข้อยมาขึ้นเสียงหยังอยู่นี่ – นังขี้ข้ามาขึ้นเสียงอะไรอยู่ที่นี่]
{ข้อย – สรรพนามบุรุษที่ ๑ ใช้แทนตนเอง ข้า , ข้าพเจ้า , ผม , ฉัน , เรา}

ไข – เปิด
[ไขตู้ – เปิดตู้]
[ไขบ้าน – เปิดบ้าน]
[ไขกะแจ – เปิดกุญแจ]

เหล้าโรม – เหล้านอก ? (ไม่ถนัดเรื่องเหล้าไม่รู้ว่าเป็นเหล้าโรง หรือ เหล้านอก กันแน่)
[เหล้าโรมชนิดแก้วสี่เหลี่ยม – เหล้านอกชนิดขวดสี่เหลี่ยม]

เซิ่ง – ตรง , เสมอ , เท่า
[เซิ่งหน้า – ตรงหน้า]
[ตัดไม้เซิ่งกันบ่ – ตัดไม้เสมอกันไหม]
[เล็งเบิ่งดู๊เซิ่งกันแล้วตี้ – กะระยะดูหน่อยซิตรงกันแล้วหรือยัง]

ถอก – เท
จอก – ภาชนะสำหรับใส่น้ำอย่างเช่น แก้วน้ำ โจก ก็ว่า
บ่อนเก่า – ที่เดิม หฺม้องเก่า , ม่องเก่า ก็ว่า

ปล. แล้วก็จับแก้วเหล้านั้นมา แต่บ่ถอกใส่จอก
แม่นยกขึ้นถอกใส่ปากเลย จนหมดเคิ่งแก้วแล้ว
ก็วางตั้งลงไว้บ่อนเก่า

[แล้วก็จับขวดเหล้านั้นมาแต่ไม่เทใส่แก้ว
กลับยกขึ้นเทใส่ปากเลย จนหมดครึ่งขวดแล้ว
ก็วางตั้งลงไว้ที่เดิม]

ตัวะ , ตั๋วะ – โกหก , มดเท็จ , หลอกลวง
ลาว – สรรพนามบุรุษที่ ๒ มัน , เขา , เธอ , คุณ , ท่าน

จึงถอกให้โปลิศกิน โปลิศก็ว่าบ่เป็นเหล้า และเอาแก้วเหล้าที่โป-
ลิศถือมาเป็นหลักฐาน ที่ว่าญาครูกินเหล้านั้นมาถอกกินเบิ่งก็รู้
สึกว่าบ่เป็นเหล้า ในที่สุดฝรั่งก็ยอมจำนนและหันไปเว้ากับโป-
ลิศว่า พร้อมทั้งชี้มือไปใส่บอกว่า: แต่นี้ไปไผว่าญาครูกินเหล้า
ต้องมีโทษ เว้ากันมาฮอดนี่ก็เลิกแล้วกันไป
ต่อแต่นั้นมาฝรั่งคนนั้นก็มีความงึดง้ออัศจรรย์ และ มี
ความเคารพนับถือหลวงปู่เป็นอย่างสูง ต่อมาฝรั่งคนนั้นคิดอยากจะ
นิมนต์เอาหลวงปู่ไปเที่ยวเมืองฝรั่งที่กรุงปารี จึงแต่ให้คนมา
นิมนต์ หลวงปู่จึงถามว่า: ไปจั่งใด? ไปกับไผ? ผู้มานิมนต์ก็บอก
ว่า: ไปทางเฮือขี่กำปั่นข้ามมหาสมุทรหลายมื้อหลายคืนจึงฮอด
หลวงปู่จึงเว้านำผู้มานิมนต์ว่า: โอย! เฮาคนบ้านโคกบ้านป่าเป็นคน
ย้านน้ำ เฮาบ่กล้าไปนำดอก เมือบอกเพิ่นสาให้บอกเพิ่นว่าขอ
ขอบใจนำเพิ่นหลาย ๆ เฮาบ่กล้าไปเพราะเฮาย้านน้ำ ย้านเฮือ
ล่มเฮาลอยน้ำบ่เป็น แล้วผู้มานิมนต์ก็กลับไปบอกตามความ
หลวงปู่สั่ง ฝรั่งคนนั้นก็มีความสงสัยว่า หรือเป็นนำเฮาบ่ได้ไป
นิมนต์เพิ่นด้วยตนเองบ้อ? เพิ่นจึงบ่รับ ต่อมาคนฝรั่งคนนั้นจึงชวน
เอาเจ้านายลาวจำนวนหนึ่ง พร้อมทั้งครอบครัวลาวเองลงเฮือ อิปา-
วี ที่เอามาจากเมื่อฝรั่งหมายเลขเบอร์ 2 ที่เอามาฮับใช้เวียกงานอยู่
ประเทศลาว พากันมานิมนต์เอาหลวงปู่ เวลานั้นแม่นฤดูฝนท้าย

……………………………..

ฮอด – ถึง
งึด – อัศจรรย์ใจ , พิศวง
ง้อ – ท้อแท้ใจ , อ่อนอกอ่อนใจ , ท้อแท้ทอดอาลัย
งึดง้อ – มีศรัทธายอมเชื่อในความอัศจรรย์จนศิโรราบ
ไปจั่งใด? – ไปอย่างไร?
ไปกับไผ – ไปกับใคร?
เฮือ – เรือ
กำปั่น – เรือเดินสมุทรขนาดใหญ่จำพวกเรือสำเภา เรือกลไฟ
หลายมื้อหลายคืน – หลายวันหลายคืน
คนบ้านโคกบ้านป่า – ชาวดอน , ชาวป่าชาวเขา
ย้านน้ำ – กลัวน้ำ
เมือ – กลับ , กลับไป
[เมือบอกเพิ่นสา – กลับไปบอกเขาซะ]
ลอยน้ำ – ว่ายน้ำ
[เฮาลอยน้ำบ่เป็น – เราว่ายน้ำไม่เป็น]
เวียก – งาน
ฤดูฝนท้าย – ช่วงปลายฤดูฝน

เดือน 9 ต่อเดือน 10 น้ำของกำลังนองเต็มฝั่ง เฮืออิปาวีฝรั่งได้
มาจอดอยู่ที่ท่าหน้าวัดเวินไช จึงพร้อมกันขึ้นมานิมนต์เว้ากับคณะ
ก่อนและหลวงปู่ก็ปฏิเสธคือเก่า สุดท้ายก็เว้าว่า คันบ่ไปนำฮอด
เมืองฝรั่งก็นิมนต์ไปฮอดเมืองปากเซนี้ก็เอาดอก ฝ่ายหลวงปู่
ก็ยังเว้าว่า เป็นคนย้านน้ำย้านเฮือล่ม อาตมาลอยน้ำบ่เป็น
ฝ่ายผู้ที่นิมนต์ก็ซูซีรับรองว่าจะบ่ล่ม เพราะเรือใหญ่สามารถแล่น
ผ่านข้ามมหาสมุทรก็ยังได้ส่ำน้ำของเฮานี้แม่นน้อย ๆ มันบ่
ล่มดอก ฝ่ายหลวงปู่ก็เว้าตื่มอีกว่า: บาดมันสิล่มมันบ่เลือกน้ำ
น้อยน้ำใหญ่ ฝ่ายผู้นิมนต์ก็ยังยั้งยืนอยู่ส่ำนั้น สุดท้ายหลวงปู่ก็อดบ่
รนทนบ่ได้จึงเว้าว่า: เอ้า! ไปก็ไปแต่ถ้าเฮือสิล่มอา-
ตมา บ่ไปนำเดอ เว้าแล้วก็พากันลงจากกุฏิไป พอไปฮอดเฮือ
ไผ ๆ ก็พากันไต่ไม้แป้นพาดฝั่งพาดปากเฮือเข้าเฮือหมดแล้ว ก็พากัน
ฮ้องนิมนต์หลวงปู่ นิมนต์โลดรับประกันเลยฝ่ายหลวงปู่อยู่ส้นแป้น
พาดฝั่ง ผู้อยู่ในเฮือก็นิมนต์ตื่มว่า: นิมนต์ย่างเข้ามาโลดรับประกัน
บ่เป็นหยัง ฝ่ายหลวงปู่ก็ยกตีนเบื้องหนึ่งไปเหยียบแป้นพาดเฮือเฮ็ดสิ
เยาะ ๆ ย่อง ๆ คือคนขี้ย้าน ในขณะนั้นแคมเฮือแม่นเงี่ยงลงจมน้ำ
ไหลเข้าเฮือและสิ่งของในเฮือก็กลิ้งตำกันเสียงสนั่น บรรดาผู้ที่อยู่
ในเฮือ โดยเฉพาะครอบครัวของฝรั่งเอง ก็พากันฮ้องขึ้นว่า:
เฮือสิล่มแล้วนิมนต์เพิ่นออกสาบ่เอาแล้ว ผลที่สุด

…………………………………………

น้ำของ – น้ำโขง
เวิน – วังน้ำลึก
คือเก่า – เหมือนเดิม
คัน – ถ้า

ซูซี – เซ้าซี้ , รบเร้า
[เจ้าบ่ต้องมาซูซีข้อย จั่งไดกะบ่ให้ – คุณไม่ต้องมาเซ้าซี้ผม อย่างไรก็ไม่ให้]

ส่ำ – แค่ , เท่า , เพียงเท่า , เพียงแค่ , นับประสาอะไรกับ , เล็ก ๆ น้อย ๆ
[ส่ำน้ำของเฮานี้ – นับประสาอะไรกับน้ำโขงของเรานี้ ]
[ส่ำนี้กะมาทวงกันเนาะ – เพียงแค่นี้ก็มาทวงกันนะ]

ไต่ – เดินขึ้นหรือเดินลงทางชัน
ไม้แป้น – ไม้แผ่นกระดาน , สะพานไม้กระดาน

ส้น – คำเรียกทางด้านท้ายหรือด้านปลายสุด
[ส้นแป้นพาดฝั่ง – ปลายไม้กระดานที่อยู่บนฝั่ง(ตลิ่ง)]

เบื้อง – ข้าง , ด้าน , ฝ่าย
[ตีนเบื้องหนึ่ง – เท้าข้างหนึ่ง]

เฮ็ดสี – ทำที , ทำท่า

เยาะ ๆ ย่อง ๆ – จด ๆ จ้อง ๆ
[ยกตีนเบื้องหนึ่งไปเหยียบแป้นพาดเฮือเฮ็ดสิเยาะ ๆ ย่อง ๆ – ยกเท้าข้างหนึ่งเหยียบไม้พาดเรือทำท่าจด ๆ จ้อง ๆ (ใช้ปลายเท้าแตะ ๆ ยก ๆ แบบกล้า ๆ กลัว ๆ ]

ขี้ย้าน – หวาดกลัว , ขี้กลัว
เงี่ยง – เอียง

สา – เสีย , ซะ
[นิมนต์เพิ่นออกสา – นิมนต์ท่านออก(ไป)เสีย]

ก็บ่ได้หลวงปู่เมือนำ
ตอนนี้แสดงให้เห็นบทบาทของพระสงฆ์ลาวที่สามารถเอา
ชนะคู่ต่อสู้ได้อย่างมหัศจรรย์ บ่ว่าแต่ลาวแม้แต่คนต่าง
ชาติก็ยอมจำนน และ มีความเคารพนับถือ อยู่ต่อมาก็มีนักปราชญ์
อาจารย์หลายคน ไผว่าไผเก่ง ได้พากันมาทดสอบกับหลวงปู่
สมเด็ดลุน โดยวิธีพากันเอาหนังสือพระไตรปิฎกเป็นผูก ๆ มาแก้
สายสนองออกและซะทั่วไป แล้วให้อาจารย์แต่ละคนเก็บ
คืน ให้ถืกตามผูกตามมัดใบอ่อนใบแก่ให้ถืกคือของเก่า อาจารย์
ผู้ใด๋ก็เฮ็ดบ่ถืก มีแต่อาจารย์หลวงปู่สมเด็ดองค์เดียวเฮ็ดได้ วิธีของ
เพิ่นแม่นเพิ่นใช้ไม้แส้น้อยเขี่ยใบนั้นใบนี้เขี่ยไปเขี่ยมาจนหมด
สำเร็จแล้วก็พากันกวดเบิ่งแม่นถืกหมดบ่มีผิด อันนี้ก็เป็นเรื่อง
น่าอัศจรรย์อีกอันหนึ่ง
อยู่ต่อมายังมีเรื่องท้าวจัน คนบ้านดอนไซเป็นนายพรานไป
เที่ยวหายิงเนื้อไปต่อไปเกิดหลงป่าไม้ว่าตนเป็นเป็นนายพรานหาเนื้อหา
ยิงเมยมั่งก็ยังหลงป่า เกือบเสือซิหย้ำกินกระดูกคอ แต่ว่าบุญลาว
ยัง หย่างไปหย่างมาก็เลยไปพบเห็นอาจารย์บังบด อยู่ในวัดผีภู
คอนแฮ่(อยู่หัวคอนหลี่ผี) แล้วอาจารย์องค์นั้นก็เอาท้าวจันไปอยู่นำ
ให้เป็นโยมอุปฐากฮักษาเคนพาข้าวน้ำเต้าอยู่ได้ประมานสามปี
อาจารย์ผีภูคอนแฮ่ จึงได้เอาท้าวจันส่งกลับคืนเมือบ้านดอนไซ

………………………………………………..

เมือนำ – กลับไปด้วย
สายสนอง – เชือกร้อยใบลานให้รวมกันไม่กระจัดกระจาย
ซะ – กระจัดกระจาย

ถืก – ถูก
[ให้ถืกคือของเก่า – ให้ถูกเหมือนของเดิม]
[เฮ็ดบ่ถืก – ทำไม่ถูก]
[เฮ็ดได้ – ทำได้]

ไม้แส้น้อย – ไม้เรียวอันเล็ก ๆ

กวด – ตรวจ
[กวดเบิ่ง – ตรวจดู]

เมย – กรูปรี
มั่ง – ละมั่ง
หย้ำ – เคี้ยว
บุญลาวยัง – บุญของเขายังมีอยู่
หย่าง , ย่าง – เดิน

บังบด – แดนลับแล , ชาวลับแล
[อาจารย์บังบด – อาจารย์ชาวลับแล]

แฮ่ – แร่
[ผีภูคอนแฮ่ – ผีภูคอนแร่]

เคนพาเข่า – ประเคนถาดใส่ข้าว
คืนเมือ – กลับคืน

ของเก่า ข่าวการหายโตไปของท้าวจันนั้นก็ส่าลือไปอย่างกว้าง
ไกลจนได้ยินฮอดเจ้าองค์ครองเมืองและเจ้าองค์ครองเมืองก็ได้มี
ความเมตตาแจ้งการไปตามบ้านต่าง ๆ ให้ช่วยซอกค้นติดตาม
แต่ก็บ่ได้ผล จนกาละเวลาล่วงพ้นไปได้สามปีจึงเห็นตัวท้าวจัน
คืนมา เมื่อท้าวจันกลับมาไผ ๆ ก็ถามข่าวถามคราว การไปของ
ท้าวจัน และท้าวจันก็ได้เว้าความจริงสู่บ้านสู่เมืองฟัง และข่าว
นี้ก็ได้ฮู้ฮอดเจ้าองค์ครองเมืองอีก เจ้าองค์ครองเมืองจึงมีคำสั่งเอิ้น
เอาท้าวจันไปสืบถามเบิ่งเรื่องราวที่ไปอยู่ผีภูคอนแร่ ว่าเป็นคือ
แนวใด? ท้าวจันก็ได้รายงานว่า: เนื่องจากข้าน้อยไปเที่ยวป่า
หายิงเนื้อก็เลยหลงป่าไปจึงไปพบเห็นอาจารย์บังบด เพิ่นเอา
ข้าน้อยไปอยู่นำให้เป็นโยมอุปัฏฐากในชั่วไลยะที่อยู่นำเพิ่นนั้น
คันฮอดมื้อวันศีล 14 – 15 ค่ำก็ได้เห็นครูบาคนเฮาไปวัดนั้นเป็น
ประจำ คันหวิดวันศีลแล้วอาจารย์องนั้นก็หายไป ฝ่ายเจ้าองค์ครอง
เมืองก็ถามท้าวจันตื่มว่า: ถ้าเจ้าเห็นอาจารย์องค์นั้นเจ้าซิจื่อได้บ่?
ท้าวจันก็ตอบว่า: จื่อได้เพราะข้าน้อยไดอุปัฏฐากเพิ่นอยู่ทุก ๆ วัน
ศีล ต่อจากนั้นองค์เจ้าครองเมืองก็ได้ออกคำสั่ง ขอนิมนต์เอาอาจารย์
แต่ละวัด ในขอบเขตเมืองจำปาสัก มาให้ท้าวจันเบิ่ง ท้าวจัน
เบิ่งองค์ใดก็บ่แม่น ให้นิมนต์มาจนหมดในวงขงเขตเมืองจำปาสัก
ยังเหลือแต่พระขี้เหล้าองค์เดียวอยู่วัดเวินไซ เมื่อได้รับรายงานคือแนว

……………………………………………….

ส่าลือ – เล่าลือ , เลื่องลือ , ขจรขจาย ,
ซอกค้น – ค้นหา , เสาะหา
เอิ้น – เรียก
เป็นคือแนวใด ? – เป็นมาอย่างไร
ชั่วไลยะ – ชั่วระยะ
วันสิน , วันสีน – วันพระ 14 – 15 ค่ำ เนื่องจากวันนี้จะต้องมีการสมาทานศีลแปด
และต้องถือศีลแปด 1 วัน 1 คืน หรือมากกว่านั้นตามแต่ข้อตกลงของบ้านนั้น ๆ
ดังนั้นทางภาคอีสานจึงเรียกวันพระว่า “ วันสีน (วันศีล) ”

คนเฮา – คนเรา
[ครูบาคนเฮา – ครูบาที่เป็นมนุษย์]

หวิด , วิด – พ้น , ผ่าน , ผ่านพ้น , ล่วงเลย
[คันหวิดวันสีนแล้ว – ครั้นผ่านพ้นวันพระไปแล้ว]
[เลี้ยวมาโลดหวิดอยู่ – เลี้ยวมาเลยพ้นอยู่]

{หวิดหลัง – คลาดกันนิดเดียว , พลาดกันนิดเดียว , ไม่ทันกัน}

จื่อ – จำ , จดจำ
[เจ้าซิจื่อได้บ่? – คุณจะจำได้หรือเปล่า , คุณจะจำได้ไหม ]

นั้น เจ้าองค์ครองเมืองมีคำสั่งตื่มว่า ขี้เหล้าหรือบ่ขี้เหล้าก็ให้นิมนต์
มาให้หมด เมื่อคำสั่งอันนั้นไปเถิง หลวงปู่ก็ได้รับคำนิมนต์ แล้ว
ก็ออกเดินทางโดยทางเฮือ เมื่อเฮือไปเถิงและจอดท่าเจ้า
องค์ครองเมือง แล้วแล้วก็ขึ้นจากท่าหฺย่างไป เพราะว่าจากท่าไปหาคุ้ม
(เฮือน)เจ้าองค์ครองเมืองบ่ไกลประมาณ 100 เมตร พอท้าวจันเหลียว
เห็นก็แล่นไปใส่โลดพร้องทั้งเว้าว่า: แม่นอาจารย์ผู้นี้แท้ ๆ แต่
นั้นมาเจ้าองค์ครองเมืองจึงมีความเคารพนับถือหลวงปู่อย่างสูง
อยู่ต่อมาได้มีพวกพ่อค้าแม่ค้า มาจากเมืองพนมเปญ ประ-
เทศเขมร และมาจากกรุงเทพประเทศไทย ได้มาเห็น
อาจารย์หลวงปู่สมเด็ดลุน อยู่วัดบ้านเวินไซพ่อค้าเมืองพนมเปญก็
เว้าว่า: เคยเห็นอาจารย์องค์นี้อยู่เมืองพนมเปญแม่นแท้ ๆ พ่อค้าแม่
ค้ามาจากเมืองกรุงเทพก็เว้าว่า: เคยเห็นอาจารย์องค์นี้อยู่กรุงเทพ
แม่นแท้ ๆ
อันนี้ก็แม่นเหตุการณ์อันหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นเถิงบทบาท
ความเก่งกล้าของพระสงฆ์ลาว ที่สามารถไปแสดงตนอยู่ต่างประ-
เทศ และนำเอาเกียรติ์ศักดิ์ศรีมาสู่วงการคณะสงฆ์ ก็คือแก่ประเทศ
ชาติที่หาได้ยาก
และอีกเรื่องหนึ่งอยู่ต่อมามีอาจารย์มหาคำพาคนเมืองจำ-
ปาสักได้ไปเฮียนมาจากเมืองเกาะลังกากลับมาอยู่เมืองจำปาสัก

……………………………

ย่าง , หฺย่าง , ญ่าง – เดิน

แล่น , แหฺล่น– วิ่ง
[แล่นไปใส่โลด – วิ่งไปหาทันทีทันใด]

แท้ ๆ – จริง ๆ
[แม่นอาจารย์ผู้นี้แท้ ๆ – ใช่อาจารย์คนนี้จริง ๆ ]
[แม่นแท้ ๆ – ใช่จริง ๆ ]

เฮียน – เรียน
เกาะลังกา – ประเทศศรีลังกา

อยู่ต่อมาเพิ่นได้ยุบพระพุทธรูปทอง , เงิน , คำ มาหล่อเป็นองค์เดียวกัน
การกระทำของอาจารย์มหาคำพาคือดั่งว่ามานั้น เสียงส่วนหลาย
ของครูบาอาจารย์และญาติโยมตลอดฮอดเจ้าเมือง บ่เห็นดี
ให้ลาวยุบ ได้เว้ากันแล้วก็เอาชนะมหาคำพาบ่ได้เพราะ
ลาวว่าลาวเฮียนจบมาจากเกาะลังกา
อยู่ต่อมาย้อนความบ่พอใจ ในการกระทำของพระอาจารย์ม-
หาคำพานั้นเสียงส่วนหลายของครูบาอาจารย์และญาติโยมพร้อม
ด้วยองค์ครองเมืองก็ลงความเห็นเป็นเอกภาพกันว่า ให้ไปมน
เอาหลวงปู่สมเด็ดลุนอยู่บ้านเวินไซมาเว้ากันอยู่เมืองจำปาสัก
คันหลวงปู่ไปแล้วก็ให้นัดวันเวลากันคักแน่ ไผ ๆ ก็แม่นสนใจเป็นพิ-
เศษ เพื่อมาฟังการโต้วาทีของนักปราชญ์ใหญ่ ที่จะได้ทำสงคราม
ปากกันทางด้านวาทศิลป์ ว่าไผจะมีคารมคมคายเหนือกว่ากัน
เพื่อจะตัดวิมติกังขาความสงสัยของปวงชนให้เด็ดขาดลงไป
ในวันนัดหมายกันนั้น ประชาชนก็พากันหลั่งไหลกันเข้ามานับเป็น
ร้อยเป็นพัน มีองค์เจ้าครองเมืองเป็นประมุข ครั้นได้เวลาที่ถือว่า
เป็นฤกษ์งามยามดีองค์เจ้าครองเมืองก็แจ้งจุดประสงค์ในการอารา-
ธนา ผู้เป็นเจ้ามาพบหน้าพ้อตากันในครั้งนี้ก็เพื่อให้พระผู้เป็นเจ้า
เว้าเรื่องฮีตพระครองสงฆ์ที่เป็นปัญหาข้องคาอยู่ในแนวคิดจิตใจ
ออกตนญาติโยม ให้มันแจ้งจั่งดาวขาวจั่งฝ้าย

………………………………………

ยุบ , หฺยุบ – หลอม
ทอง – ทองเหลือง , ทองสัมฤทธิ์
ตลอดฮอด – ตลอดถึง , ตลอดจน
ย้อน , ญ้อน , หฺย้อน – เพราะ , เพราะว่า , เป็นเพราะว่า
ไปมน – ไปนิมนต์

คักแน่ , คักแหฺน่ – แน่นอน , ตรง ๆ
[นัดเวลากันคักแน่ – นัดเวลากันให้แน่นอน]
[เจ้าคือเว้าคักแหฺน่แท้ – คุณทำไมพูดตรง ๆ อย่างนั้น (ขวานผ่าซาก)]

พ้อ – เห็น , พบ
[ไปซอกหาลูกสาวพ้อแล้วบ่ – ไปค้นหาลูกสาวเห็นแล้วหรือยัง]
[พบหน้าพ้อตา – เห็นหน้าเห็นตา]

ฮีต – จารีตธรรมเนียมปฏิบัติ
แจ้งจั่งดาวขาวจั่งฝ้าย – (สำนวน) แจ่มกระจ่างชัดเจนไร้ข้อกังขา

ใสงามจั่งแว่นข้าน้อยแล้วก่อนอื่นหมด
โยม(หมายเถิงเจ้าองค์ครองเมือง) ขอต่างหน้าให้ที่ประชุม
ทั้งหมดขอโทษขอโพยนำ อย่าให้เป็นปาบเป็นกรรมข้าน้อยท้อนมา
ฮอดมื้อนี้เพื่อบ่เป็นการเสียเวลาโยมขออาราธนาพระคุณเจ้าทั้ง
สองได้โผดเมตตาแก้ไขไต่สวนทวนถามไปตามธรรมนองครอง
ธรรมเลยข้าน้อยแล้ว(ในการโต้วาทีครั้งนี้บ่ได้มีการสมมุติสมัญ-
ญาเซิ่งกันและกันว่าจะให้องค์ใดเป็นสักกวาทยาจารย์ องค์
ใดเป็นปรวาทยาจารย์คือพวกเฮาใช้อยู่ในยุคปัจจุบันนี้) พอ
สุดคำอาราธนาขององค์เจ้าครองเมือง แม่นหลวงปู่สมเด็ดลุน
ฟ้าวเปิดฉากบุกทันทีโลด โดยยกปัญหาหนึ่ง ๆ ใกล้ ๆ หญ้าปาก
คอกขึ้นมาถามว่า: ในภัทรกัปนี้มีพระพุทธเจ้าจักองค์? ฝ่าย
อาจารย์มหาคำพาก็เห็นว่าเรื่องเล็ก จึงให้คำตอบอย่างทันควัน
เลยว่า: มี 5 องค์ หลวงปู่สมเด็ดลุนซ้ำพัดกล่าวแย้งว่า: มี 6 องค์
ฝ่ายมหาคำพาจึงถามทวนคืนว่า: พระพุทธเจ้าองค์ที่ 6 นั้นชื่อว่า
จั่งใด? ฝ่ายหลวงปู่ได้ท่าก็บุกทะลวงใหญ่เลยว่า: องค์ที่ 6 แม่น
เจ้าหั้นติ. เรื่องพระพุทธเจ้ามันแม่นโตแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธ-
เจ้าทุก ๆ คนไผ ๆ ก็มีความเคารพนบไหว้และบูชามีแต่พระม-
หาคำพาผู้เดียวเป็นผู้ยุบยอบจูดเลาเผาไหม้โตแทนของพระสัม-
มาสัมพุทธเจ้า แม่นเจ้าไปเฮียนมาแต่ไส? มหาคำพาก็ตอบว่า

………………………………………………….

หมายเหตุ

“เรื่องพระพุทธเจ้ามันแม่นโตแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธ-
เจ้าทุก ๆ คนไผ ๆ ก็มีความเคารพนบไหว้และบูชา”

ประโยคนี้น่าจะผิดตรงคำว่า “พระพุทธเจ้า” น่าจะเป็น
“พระพุทธรูป” เพราะดูบริบทข้อความแล้วแปลก ๆ จึงน่าจะเป็น

“เรื่องพระพุทธรูปมันแม่นโตแทนองค์พระสัมมาสัมพุทธ-
เจ้าทุก ๆ คนไผ ๆ ก็มีความเคารพนบไหว้และบูชา” จะได้ใจความกว่า

……………………………………………………….

แว่น – กระจก
[แยงแว่นเบิ่งดู๊ขี้หูขี้ตายังติดเต็มอยู่ – ส่องกระจกดูสิขี้หูขี้ตายังติดเต็มอยู่]
[ข้อยสิทาปากทาแก้มยืมแว่นมาแยงแหฺน่ – ฉันจะทาปากแต่งหน้ายืมกระจกมาส่องดู่หน่อย]

ข้าน้อยแล้ว – เป็นคำลงท้ายความใช้กับผู้มียศหรือผู้ที่ตนเคารพนับถือ
ขอต่างหน้า – ขอออกหน้าแทน , เป็นตัวแทน

ข้าน้อยท้อน – เป็นคำลงท้ายความใช้เวลาพูดกับพระหรือเวลาอธิษฐานตรงกับคำไทยว่า ข้าพเจ้านี้เทอญ
[ขอให้บุญนี้ยู้ส่งข้าน้อยท้อน – ขอให้บุญกุศลนี้หนุนส่งข้าพเจ้านี้เทอญ]
[ขอให้สมปาดถะหนาก่อข้าท้อน – ขอให้สมปรารถนาแก่ข้าเทอญ]

เซิ่งกันและกัน – ซึ่งกันและกัน
สักกวาทยาจารย์ – อาจารย์ผู้กล่าวคนแรก (ฝ่ายถาม)
ปรวาทยาจารย์ – อาจารย์ผู้กล่าวภายหลัง (ฝ่ายตอบ)

สุดคำ – สิ้นคำพูด , สิ้นสุดคำพูด , หมดคำ , สิ้นความ , จบใจความ
สุดคำ 2 – (สำนวน) พูดเปิดเผยเรื่องโดยไม่ต้องปิดปิดบังอำพราง
[พอสุดคำอาลาดทะนา – พอสิ้นสุดคำอาราธนา]
[เจ้ากะเว้าให้สุดคำแหฺน่ – คุณก็พูดให้หมดอย่าปิดบังอำพรางเรื่องสิ]

ฟ่าว , ฟ้าว – รีบ , รีบเร่ง

ภัทรกัป – กัป(ยุค)ที่เจริญที่สุดมีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้มากถึง ๕ พระองค์

ความรู้เพิ่มเติม
การแบ่งกัปตามจำนวนการอุบัติของพระพุทธเจ้า
แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ

1.สุญญกัป คือ กัปที่ว่างจากพระพุทธเจ้า แต่อาจมี พระปัจเจกพุทธเจ้า และ พระเจ้าจักรพรรดิ ได้

2.อสุญญกัป คือ กัปที่ไม่ว่างจากผู้มีบุญโดยเฉพาะพระพุทธเจ้า แบ่งเป็น 5 ประเภทย่อยคือ

2.1 สารกัป คือกัปที่เป็นแก่นสาร มีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ 1 พระองค์
2.2 มัณฑกัป คือ กัปที่ผ่องใส มีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ 2 พระองค์
2.3 วรกัป คือ กัปที่ประเสริฐ มีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ 3 พระองค์
2.4 สารมัณฑกัป คือกัปที่เป็นแก่นสารและผ่องใส มีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ 4 พระองค์
2.5 ภัทรกัป คือกัปที่เจริญ มีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ 5 พระองค์. กัปปัจจุบันเป็นภัทรกัปมีพระพุทธเจ้ามาตรัสรู้
ได้แก่ พระกกุสันธพุทธเจ้า พระโกนาคมนพุทธเจ้า พระกัสสปพุทธเจ้า พระโคตมพุทธเจ้า และว่าที่พระเมตไตรยพุทธเจ้า

หั้นติ , หั้นตี้ , ซั้นติ , ซั้นตี้ – นั่นนะสิ , นั่นแหละ , อย่างนั้นสิ , อย่างนั้นหรือ
[แม่นเจ้าหั้นติ – ใช่คุณนั่นแหละ]
[เขาว่าจั่งซั้นตี้ – เขาพูดว่าอย่างนั้นหรือ]

ยุบยอบ – หลอมรวม

จูด – จุดไฟเผา , เผา
[จูดเลาเผาไหม้ – (สำนวน) เผาทิ้งไม่ให้เหลือ]

เลา – พืชตระกูลอ้อ – แขมชนิดหนึ่ง ต้นเลา ก็เรียก

เฮียนมาแต่เกาะลังกา ฝ่ายหลวงปู่สมเด็ดลุนยิ่งบุกหนักตื่มเข้าอีก
ว่า: ให้เจ้าไปเฮ็ดอยู่เมืองเกาะลังกาพุ้นและให้ไปกินเข้าอยู่เกาะ
ลังกาพุ้นบ่ให้อยู่เมืองลาว พอหลวงปู่เว้าสุด ฝ่ายมหาคำพาก็หน้า
ล่า ทั้งย้านทั้งกลัวฝ่ายครูบาอาจารย์ออกตนญาติโยมเป็นร้อยเป็น
พันตลอดฮอดเจ้าองครองเมืองก็พร้อมกันตบมือพือผ้าฮ้องโห่ดัง
ขึ้นสนั่นเพื่อให้เกียรติ์หลวงปู่สมเด็ดลุนผู้มีชัยชนะ
……ในขั้นต่อไปเจ้าองค์ครองเมืองก็ได้นิมนต์หลวงปู่ไปแสดงอ-
ภินิหาริย์อยู่หัวภูมะโรง(ติดกับวัดภูจำปาสัก)เฮ็ดให้เป็นช้างเป็น
เสือเป็นไฟเป็นฝนเป็นลม ดำดินบินบนก็เฮ็ดได้หมด จากผล
การที่หลวงปู่แสดงออกมานั้น จึงพาให้องค์เจ้าครองเมืองมี
ความเคารพนบน้อมขาบไหว้ในหลวงปู่เป็นอย่างสูง(เข้าใจว่าคง
จะแม่นในไลยะนี้เอง หลวงปู่ได้รับการฮดสรงปลงประสิทธิพร
แถมนามกรตื่มยศให้ปรากฏในแผ่นพื้นหิรัญญสุพรรณ-
บัตรขึ้นให้เป็นสมเด็จเจ้าตั้งแต่นั้นสืบมา) แต่ก็บ่ปรากฏว่าเจ้า
องค์ครองเมืองได้นิมนต์ให้เพิ่นมาอยู่ในเมืองจำปาสักคงให้เพิ่น
อยู่ประจำในวัดเวินไซจนฮอดอายุไขของเพิ่นและปรากฏว่าเมื่อ
อายุของเพิ่นได้ 56 ปีเพิ่นก็ได้เซากินเหล้า
……ครั้นอยู่จำเนียรกาลนานมาเถิงปี พ.ศ. 2466 ค.ส.1920
กงกับปีระกาเดือน 11 เพ็งขึ้น 15 ค่ำ เวลาตอนบ่ายกลาง

………………………………………..

เว้าสุด – พูดจบ

หน้าล่า ,หน้าหฺล่า – หน้าซีดเผือด , หน้าตาเหรอหรา
[เจ้าเป็นหยังคือหน้าหฺล่าแท้ – คุณเป็นอะไรทำไมจึงหน้าซีดเผือดอย่างนี้]
[บ่ต้องเฮ็ดหน้าหล่าตาตาย ข้อยว่าเจ้านั่นหล่ะ – ไม่ต้องมาทำหน้าตาเหรอหรา ผมว่าคุณนั่นแหละ]

พือ – สะบัด , โบก
[พือผ้า – สะบัดผ้า , โบกผ้า]

ขาบไหว้ – กราบไหว้
เซา – หยุด , เลิก , พอ
กง – ตรง
………………………………………………………

ปล. ข้อความที่หลวงปู่แสดงปาฏิหาริย์แปลงร่างเป็นช้างเสือ เรียกไฟเรียกฝน ดำดินเหาะเหิรเดินอากาศให้เจ้าเมืองและปรชาชนได้ชมนั้นยังไม่ปลงใจเชื่อสักเท่าไหร่ เพราะผิดพระวินัยบัญญัติ เป็นอาบัติ เข้าข่ายอวดอุตริมนุสธรรม น่าจะเป็นการแต่งเสริมเพิ่มเติมเพื่ออวดโอ่อานุภาพของหลวงปู่เสียมากกว่า

คืนใกล้จะรุ่งหลวงปู่สมเด็ดลุนได้เถิงแก่มรณภาพไปในวันนั้น
คันเพิ่นมรณภาพไปแล้วทางคณะสงฆ์และญาติโยมก็ได้พา
กันตั้งศพไว้บำเพ็ญบุญและคบงันกันมาจนเถิงเดือน 4 จึ่งได้
เริ่มพิธีจัดตั้งอย่างเป็นทางการ โดยแม่นเจ้าองค์ครองเมืองเป็น
ประธานและพร้อมด้วยพระสงฆ์สามเณรและญาติโยมทุกถ้วน
หน้าได้พากันเฮ็ดศพงันอยู่ 7 มื้อ 7 คืน จึงได้เอาศพเคลื่อนที่ออกไป
ถวายเพลิง เมื่อเลิกแล้วก็ได้เก็บกระดูกเข้าธาตุอยู่วัดบ้านเวินไซ
ใหญ่ส่วนอยู่บ่อนตั้งเมรุบรรจุศพเพิ่นนั้นต่อมาบ่นานก็ได้มีต้นโพธิ์
เกิดขึ้นพร้อมกัน 5 ต้น ต่อมาได้ตั้งวัดขึ้นอยู่บ่อนต้นโพธิ์เกิดขึ้นนั้น ใส่
ชื่อว่าวัดโพธิ์เวินไซมาจนเท่าทุกวันนี้ และต้นโพธิ์นั้นก็ได้รับการ
สักการบูชาจากชาวเมืองอย่างกว้างขวางตลอดมา
…………กิตติศักดิ์ชื่อเสียงเรียงนามของหลวงปู่ยังมีหลายดังครั้งหนึ่งในปี
ค.ศ. 1952 – 53 (พ.ศ. 2495 – 96 ) ผู้เขียนเองได้ไปเที่ยวทางเมืองทุละคม, แขวง
เวียงจันท์ได้ไปพักเยี่ยมยามอยู่วัดโพธิ์แฮ่ บ้านเกินอยู่ในวัดนั้นมีอา-
จารย์เจ้าวัดเป็นพระเถระอายุหลายแล้ว เวลาผู้เขียนเข้าไปกราบ
ไหว้ขอพักเซานำ เพิ่นก็บ่ปฏิเสธและตามมารยาทของ อาวา-
สิกวัตร เพิ่นก็ได้ให้พระเณรจัดแจงบ่อนพักเซาเหมาะพอควรและ
ก็โอ้ลมซักไซ้ไต่ถามเถิงชื่อเรียงนามบ่อนอยู่บ่อนไปจุดประสงค์จำนง
หมายมีแนวใด? ผู้เขียนก็ได้บอกไปตามความจริง เมื่อรู้เรื่องราว

………………………………………….

คัน – เมื่อ , ถ้า , อัน
เพิ่น – ท่าน
คบงัน – จัดงาน , งานฉลอง
งัน – งานเฉลิมฉลอง , งานบุญ

ทาด (ธาตุ) – เจดีย์บรรจุกระดูก
[เก็บกะดูกเข้าทาด – เก็บกระดูกบรรจุเจดีย์]

บ่อน – ที่
[บ่อนตั้งเมน – ที่ตั้งเมรุ]
[บ่อนต้นโพธิ์เกิด – ที่ต้นโพธิ์เกิด]
[บ่อนพัก – ที่พัก]
[บ่อนอยู่บ่อนไป – ที่อยู่ที่ไป]

เยี่ยมยาม – เยี่ยมเยียน , ไปมาหาสู่
แฮ่ – แร่

เซา – หยุด
[ขอพักเซานำ – ขอพักอยู่ด้วย , ขอพักค้างคืนด้วยด้วย]

กันแล้วเพิ่นเองก็ได้เว้าว่า ผู้ข้าก็เคยได้ไปอยู่ทางใต้ได้ไปอยู่นำ
หลวงปู่วัดบ้านเวินไซแต่ก็ได้กลับคืนมาอยู่บ้านหลายปีแล้ว และ มื้อ
เพิ่นตายเพิ่นยังได้มาบินบาดนำพวกผู้ข้าอยู่ แล้วผู้เขียนจึงได้
ถามเพิ่นว่า: เพิ่นมาด้วยวิธีใดแล้วเพิ่นเล่าให้ฟังว่า มื้อคืนนั้น
พวกผู้ข้าพากันออกบินบาดพอหฺวิดต้ายวัดก็เห็นเพิ่นอุ้มบาตรหฺย่าง
ออกหน้าและรับบาตรไปตลอดทางแล้วก็กลับมา พอมาเถิงวัดหฺย่าง
ข้ามต้ายวัดแล้วก็เลยหายไป พวกพระเณรที่ตามหลังก็พากัน
ถามว่า: ครูบาพ่อเฒ่าที่ไปบินบาดนำเฮาหฺว่างหนึ่งนี้เพิ่นไปทางใด
แล้ว? ผู้ข้าเองก็ได้บอกว่า: เพิ่นเมือวัดเพิ่นแล้ว หมู่ก็ถามอีกว่า:
วัดเพิ่นอยู่ไส? ผู้ข้าก็ได้บอกว่า:อยู่บ้านเวินไซ หมู่ก็ถามอีกว่า:บ้าน
เวินไซอยู่ไส? ผู้ข้าก็บอกว่า:อยู่จำปาสักภาคใต้พู้น หมู่ก็ถามอีกว่า
:เพิ่นมาได้จั่งใด๋? ผู้ข้าก็ได้บอกว่า: อาจารย์องค์นี้เพิ่นไปไสมาไส
เพิ่นบ่ยากคือเฮาดอก ไปทางน้ำเพิ่นก็บ่หาเฮือ ไปทางบกเพิ่นก็บ่
หารถหารางคือพวกเฮาดอก และพระเณรก็พากันมาส้อถามหลาย
อันหลายแนว ผู้ข้าก็ได้เว้าสู่หมู่ฟังเป็นเรื่องเป็นราวไปเลย
………..เรื่องเล่ามาเถิงนี้ แม่นผู้เขียนได้รับฟังมาด้วยตนเอง
ในไลยะหฺม่อ ๆ มานี้ ในปี ค.ศ. 1994 – 1995 ผุ้เขียนได้ไปร่วม
บุญเดือน 3 อยู่วัดพระธาตุบัวบก อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี
สาเหตุที่พาให้ได้ไปนั้นแม่นท่านพระครูพระบาทบริรักษ์เจ้าอาวาส

……………………………………..

บินบาด – บิณฑบาต (ภาคอิสานจะเรียกสั้น ๆ ว่า บินบาด)
[มื้อนี้ญาพ่อมาบินบาดนำหมู่ – วันนี้หลวงพ่อมาบิณฑบาตรร่วมกับคณะ]
ผู้ข้า – คำสรรพนามแทนตัวเองของผู้พูด ตรงกับภาษาไทยว่า ข้าพเจ้า
วิด , หวิด – พ้น , ผ่านพ้น

ต้าย – กำแพง
[พอหวิดต้ายวัด – พอผ่านพ้นกำแพงวัด]

ย่าง , หฺย่าง , ญ่าง – เดิน
[หฺย่างออกหน้า – เดินนำหน้า]

นำ – ด้วย , ด้วยกันกับ
[ไปบินบาดนำเฮา – ไปบิณฑบาตด้วยกันกับเรา]

หฺว่างหนึ่ง – เมื่อตะกี้ , เมื่อชั่วประเดี๋ยวเดียว , ประเดี๋ยวประด๋าว , ชั่วระยะเวลาหนึ่ง
เมือ – กลับ
หมู่ – พวก , คณะ , กลุ่ม , เพื่อน
อยู่ไส – อยู่ไหน , อยู่ที่ไหน , อยู่ตรงไหน
จั่งใด , จั่งได๋ – อย่างไร , ยังไง
ส้อ , ซ่อ – ซักไซ้ไล่เรียง , ถามซอกแซก ,
หลายอันหลายแนว – หลายเรื่องหลายราว , หลายเรื่องหลายอย่าง
หฺม่อ , ม่อ – ใกล้

พระบาทบัวบก ได้เข้ามาเที่ยวเวียงจันท์ และ ได้มาจอดมาแวะพัก
เซานำหลายเทื่อก็เลยเกิดเป็น วิสาสา ปรมา ญาติ มีความนับ
ถือกัน คันอยู่ต่อมาเพิ่นได้นิมนต์ผู้เขียนไปยามไปฮ่วมงานนำ ผู้เขียนก็
ได้ไปหลายเทื่อ แต่เทื่อปี 1995 นั้น ในวัดพระบาทบัวบกได้มี
แม่ออกเจ๊กคนหนึ่งมาจากกรุงเทพ ได้มารู้จักคุ้นเคยกับท่านพระ
ครูมาดนแล้ว ต่อมาได้สร้างกุฏิก่อถวายให้ท่านพระครู บังเอิญเวลา
แม่ออกเจ้าศรัทธามาถวายกุฏิที่ก่อแล้วนั้น พอดีผู้เขียนก็ได้ไปร่วม
อยู่ในงานนั้นและผู้เขียนเองก็มีอายุพรรษาหลายกว่าหมู่ ท่านเจ้าอา-
วาสก็เลยแนะนำเจ้าศรัทธาว่า: ให้ผู้เขียนเป็นผู้รับ เวลาเว้ากันอยู่
บ่ทันเถิงเวลาทำพิธีถวาย ผู้เขียนไปเห็นป้ายชื่อของกุฏิว่า: “กุฏิ
อนุสรณ์สมเด็ดลุน” ผู้เขียนจึงถามท่านเจ้าอาวาสเซิ่งอยู่ซ้องหน้า
เจ้าศรัทธาและอีกหลาย ๆ คน เพราะผู้เป็นเจ้าศรัทธาเข้ามาถวายกุ-
ฏิเขาก็เอาพรรคพวกมาร่วมนำหลายคน ถามว่า: สมเด็ดลุนองค์ใด
เดนอ? ท่านเจ้าอาวาสจึงตอบว่า; สมเด็ดลุนบ้านเวินไซเฮาพุ้น
แล้วต่อจากนี้ ผู้เขียนก็ได้หันหน้าไปลมนำเจ้าศรัทธาว่า: แม่ออก
สร้างกุฏิหลังนี้ได้บุญหลาย ลาวจึงถามว่า: เป็นแนวใด๋หลวงปู่จึง
ว่าซิได้บุญหลาย? ผู้เขียนจึงตอบว่า: ย้อนว่า: แม่ออกสร้างกุฏิ
อนุสรณ์สมเด็ดลุน บาดสิถวายสำพัดได้หลานของหลวงปู่สม-
เด็ดลุนมารับแทน แม่ออกเจ้าศรัทธาก็ตาลุกขึ้นถามว่า:หรือหลวง

……………………………..

แวะพักเซานำ – หยุดพักอยู่ด้วย
หลายเทื่อ – หลายครั้งหลายคราว
วิสาสา ปรมา ญาติ – พุทธภาษิต “ ความสนิทสนมคุ้นเคย เป็นญาติอย่างยิ่ง”

แม่ออก – อุบาสิกา

เจ๊ก – คำเรียกคนที่มีเชื้อสายจีน
[แม่ออกเจ๊ก – อุบาสิกาชาวจีน]

เซิ่งอยู่ซ้องหน้า – ซึ่งอยู่ต่อหน้า

เด นอ – คำเสริมบทต่อท้ายประโยคคำถาม – คำตอบ คล้าย ๆ กับคำว่า หนอ , หรือ , บ้างหนอ
หรือคำแปลแล้วแต่บริบทของข้อความ
[ไปใดมาเดนอ – ไปไหนมาบ้างหนอ , ไปไหนมาหรือ]
[บ่ได้ไปใดเดนอ – ไม่ได้ไปที่ไหนเลย]

ซิ – จะ
บาด – เมื่อ , ครั้น

สำพัด – สมพอว่า , ก็พอดี
[บาดซิถวายสำพัดได้หลานของหลวงปู่ – เมื่อจะถวายก็พอดีได้หลานของหลวงปู่]

ตาลุกขึ้น – ทำตาโต , ตาเบิกโพลง

ปู่นี้เป็นลูกหลานของเพิ่นซั้นบ้อ ? ผู้เขียนตอบว่าแม่นแล้ว พอดีท่าน
เจ้าอาวาสก็สอดเข้ามาเสื่อมเลยว่า: เออ! แม่นแท้ได๋ โยม,
โยมซิได้บุญหลายแท้ได๋ ! เพราะว่าท่านองค์นี้ฐานะของเพิ่นคัน
แม่นอยู่บ้านเฮาแม่นรองสมเด็จพระสังฆราชพุ้นได๋! บ่แม่นธรรม-
ดาเด้อ โยมเด้อ บาดมาเถิงมื้อโยมจะถวายกุฏิบังเอิญได้เพิ่นมา
ฮับตาง บางทีอาจซิแม่นวิญญาณของหลวงปู่สมเด็ดลุนเองดล
บันดาลให้หลานซายเพิ่นมาฮับตางก็เท่ากับว่าโยมได้ถวาย จำ
เพาะหลวงปู่เองก็ว่าได้ อาตมาก็ขอแสดงความยินดีนำ เอ้า
ไผซิมีศรัทธาทำบุญกับรองสมเด็จสังฆราชลาวก็เซิน เมื่อท่าน
พระครูเจ้าอาวาสโฆษณาเสริมคือแนวนั้น บรรดาญาติโยมอยู่ใน
ซุมนุมนั้นทั้งหญิงทั้งซายทั้งเจ๊กทั้งไททั้งลาวต่างก็จกข้างนั้นควัก
ข้างนี้ คลี่พกผ้าบายแป้งเข้าตื่มคาย ผู้ห้าผู้สิบผู้ซาวผู้ฮ้อยผู้สอง
ฮ้อยก็มีพร้อมกับเจ้าศรัทธาหลายสมควร คันผู้เขียนจื่อบ่ผิดแม่น
30,000 กว่าบาท ก็นับว่าดกหนาพอสมควรอยู่
………..เรื่องนี้ก็แสดงให้เห็นเถิงบทบาทอิทธิพลของพระสงฆ์
ลาวในอดีตแม่นลือผากดไปอย่างกว้างขวางไกลและยาวนานเมื่อเอ่ย
เถิงบทบาทของพวกเพิ่นพื้นขึ้นมายามใดก็มีผลยามนั้นโลด
……….ตามผู้เขียนได้ไปเที่ยวทางประเทศไทยอยู่ภาคกลาง 10 จังหวัด
แขวงอยู่ภาคอีสาน 17 – 18 กว่าจังหวัดเกือบหมดทุกจังหวัดไปฮอด

…………………………………………………..

ซั้นบ้อ – อย่างนั้นหรือ

เสื่อม ? (น่าจะพิมพ์ผิด) ดูจากบริบทแล้วน่าจะเป็นคำว่า เสริม
[เจ้าอาวาสก็สอดเข้ามา(เสื่อม)เสริมเลยว่า : เออ! แม่นแท้ได๋ – ถ้าเป็นคำว่า เสริม ก็จะได้ความพอดี]

แท้ได๋ – เป็นคำเสริมบทใช้ขึ้นต้น หรือ ต่อท้ายประโยคทั้งบอกเล่าและประโยคคำถาม ความหมายแล้วแต่บริบทของประโยคเช่น
[แม่นแท้ได๋ – ใช่จริง ๆ , ใช่ตามที่พูดมา]
[ได้บุญหลายแท้ได๋ – ได้บุญมากจริง ๆ]
[เจ้าเป็นผู้เว้าแท้ได๋ – คุณเป็นคนพูดจริง ๆ ใช่หรือไม่]
[แท้ได๋ เจ้าเห็นเขาลักเงินคัก ๆ บ๊อ – จริง ๆ นะ คุณเห็นเขาขโมยเงินจริง ๆ หรือ]

พุ้นได๋ – เชียวนะ , เชียวนะนั่น , อย่างนั้นเชียวนะ
[อยู่บ้านเฮาแม่นฮองสมเด็ดสังคะราชพุ้นได๋ – อยู่บ้านเราเป็นถึงรองสมเด็จสังฆราชเชียวนะ]

เดอ , เด้อ , เด๋อ – นะ , นะเออ

ฮับตาง ( ? ) – รับของถวายทาน (คำนี้ไม่มั่นใจนัก น่าจะเป็น ฮับต่าง – รับแทน)
[ต่าง – แทน (เจ้าอย่าฮับต่างลูก – คุณอย่าออกรับแทนลูก)]

จก – ล้วง , ควัก
[จกข้างนั้นควักข้างนี้ – ล้วง(กระเป๋า)ข้างนั้นควัก(กระเป๋า)ข้างนี้]

คี่พกผ้า – (คลี่พกผ้า) เปิดชายพก (ห่อเงิน)

บาย – แตะ , จับ , ลูบ
[บายแป้ง – ลูบแป้ง (น่าจะเป็นสำนวนคล้าย ๆ กับ “ติดกัณฑ์เทศน์” หรือ “ต่อยอดเงินกองบุญ” ของไทย) ]

คาย – ขันครู , เงินค่ายกครู , เงินบูชาครู , เงินถวายทาน
[คี่พกผ้าบายแป้งเข้าตื่มคาย – เปิดชายพกควักเงินออกมาถวายสมทบต่อยอดกับเงินที่เขากำลังถวายกันอยู่]

ซาว – จำนวนนับเท่ากับ 20
ฮ้อย – ร้อย
จื่อ – จำ , จำไว้ , จำได้

ผากด – ปรากฏ
[ลือผากด – ลือชาปรากฏ]

{คำที่ขึ้นต้นด้วย ปร บางคำในภาษาอีสานเดิมจะออกเสียงเป็น เช่น ปราสาท – ผาสาด
ปราบ – ผาบ , ปรากฏ – ผากด , เปรี้ยง – เผลี้ยง เป็นต้น}

พื้น – พูดเท้าความถึงความหลัง , พูดนินทา , พูดเรื่องเก่าเล่าความเดิม , เรื่องเก่า, แต่ปางก่อน
[มาหาเว้าพื้นลูกไภ้อยู่นี่เวียกบ่มีตี้ – มาหาพูดนินทาลูกสะไภ้อยู่นี่การงานไม่มีทำหรือ]
[เว้าพื้นหมู่เฮาไปเที่ยวหลวงพระบางพู้น – พูดถึงความหลังเมื่อครั้งพวกเราไปเที่ยวหลวงพระบางนู่นแนะ]
[พื้นเจ้าไปมีเมียอยู่เมืองยดข้อยยังบ่เอาความเจ้าเทื่อเด้อ – เรื่องเก่าตั้งแต่คุณไปมีเมียอยู่ยโสธรฉันยังไม่ได้คิดบัญชีคุณเลยนะ ]

บ่อนใดคันเอ่ยเถิงซื่อเสียงเรียงนามของเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก
หลวงปู่สมเด็จลุนคือจั่งว่าเขาเจ้าฮู้หมดทุกบ่อนพร้อมทั้งแสดง
ความเคารพนับถือออกมาให้เห็นโลด บาดว่าอยู่บ้านเฮาเมือง
เฮา ผู้เป็นลูกหลานสำพัดมีความสนใจน้อย ตามผู้เขียนได้ผ่าน
ไปเกือบหมดทุกแขวงใน 17 – 18 แขวง ยังเหลือบ่พอ 3 แขวงไป
ฮอดบ่อนใดเวลาใดที่มีโอกาสโอ้ลม ทั้งเวลาที่เป็นทางการ
และบ่เป็นทางการเขาเจ้าเหล่านั้นนั้นทั้งเป็นญาติโยมและพระเจ้า
พระสงฆ์นับแต่ชั้นต่ำสุดเถิงชั้นสูงสุดก็บ่ค่อยเห็นเขาเจ้าแสดง
ความกระตือรือร้นสนใจออกมาทั้งทางด้านทฤษฎีและด้านปฏิ-
บัติตัวจิง(?)เช่นตัวอย่าง: เรื่องของราชครูหลวงโพนสะเม็ก , หลวงปู่
สมเด็ดลุน เพียงแต่หนังสือชีวประวัติก็หาอ่านยากเต็มที เกือบซิ
ว่าหาบ่มี เถิงมีก็บ่เป็นขบวน ยิ่งอนุสรณ์สถานเช่น: ทาด(ธาตุ) , ฮูป-
หล่อ ก็แห่งไกลสำหรับราชครูหลวงโพนสะเม็ก(ญาครูขี้หอม) มีทาด
หน่วยใหญ่จบงาม และ ฮูปหล่อเท่าตัวจริงมีปรากฏอยู่ในบริเวณ
พระธาตุพนมฝั่งไท เขาเจ้าถือว่าเป็นพระอรหันต์พายซ้อย
พากันเคารพนบไหว้ และ โฆษณาซุกยู้ส่งเสริมให้ประชาชน
เกิดความเลื่อมใส หลั่งไหลกันไปทำบุญจนกลายเป็นที่มาของราย-
ได้ อย่างมหาศาล บาดอยู่บ้านเฮาเมืองเฮาผู้เป็นลูกเป็นหลาน
แท้ ๆ ซ้ำพัดพากันถือเบาหรือเว้าแจ่ง ๆ ว่าบ่หัวซาเจ้าราชครูหลวง

…………………………………….

บ่อนใด – ที่ไหน , ที่ใด
คือจั่งว่า – เหมือนกับว่า
เขาเจ้า – (สรรพนามบุรุษที่ 3) พวกเขาเหล่านั้น
บาดว่า – ครั้นว่า , แต่ว่า , พอแต่ว่า , เมื่อว่า

สำพัด , ซ้ำพัด – ก็อย่างว่า , ก็ดังว่า , กลายเป็นว่า (เห็นคำนี้ทีไรหาคำแปลเหมาะ ๆ ไม่ได้สักที)
[ผู้เป็นลูกหลานสำพัดมีความสนใจน้อย – ผู้เป็นลูกเป็นหลานกลายเป็นว่ามีความสนใจน้อย]

จิง(?)เช่น – คำนี้น่าจะพิมพ์ผิด ควรเป็นคำว่า จั่งเช่น – อย่างเช่น
บ่เป็นขบวน , บ่อกะบวน – ไม่เป็นโล้เป็นพาย , ไม่เอาไหน

ทาด (ธาตุ) – เจดีย์
[มีทาดหน่วยใหย่จบงาม – มีพระเจดีย์องค์ใหญ่สวยงาม]

จบ – งาม , สวย , สวยงาม
[ลูกสาวเจ้าผู้จบคักแหฺน่เนาะ – ลูกสาวคุณเป็นคนที่สวยงามจริง ๆนะ ]

พายซ้อย (?) – (คำนี้แปลไม่ได้ นึกไม่ออกจริง ๆ อาเป็ดว่าจั่งใดนอ?)
[เป็นออระหันพายซ้อย – เป็นอรหัน…?…. ]

ซุกยู้ – ผลักดัน
ถือเบา – ไม่เอาใจใส่
เว้าแจ่ง ๆ , เว้าแว่ง ๆ , พูดเจื้อยแจ้วไม่ขาดปาก , พูดเรื่อยเปื่อยไม่ยั้งคิด , พูดไม่หยุด
บ่หัวซา – ไม่เอาใจใส่ , ไม่ถือสา , ไม่ให้ความสนใจ , ไม่สนใจ

โพนสะเม็ก อยู่บ้านเฮา ธาตุก็มีรูปหล่อเท่าตัวจริงก็มีอยู่วัดธาตุท่ง
จำปาสัก หลวงปู่สมเด็ดลุน ธาตุก็มีรูปหล่อเท่าตัวจริงก็มีอยู่วัด
บ้านเวินไซ ตาแสงเวินไซ เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก ถึงว่า
มีเท่ากับบ่มีเพราะว่าธาตุรูปหล่อของเพิ่นถืกถือเบาบ่ต่างหยัง
กับธาตุตาสีตาสาลุงมาลุงมี รูปหล่อก็บ่ต่างหยังกับรูปที่ควัด
ขึ้นจากก้อนหิน ของเหล่านี้พวกเฮากะยังมีอยู่แต่มีแบบมีทรัพย์ใน-
ดินสินในน้ำ ยังบ่ทันได้พากันขุดค้นดัดแปลงให้เป็นประ-
โยชน์แก่สังคม กงกับบูฮานที่ว่า: ของดีย่อมมีประโยชน์แก่ผู้ที่
ฮู้จักใช้เท่านั้น
…………ชีวประวัติย่อของหลวงปู่สมเด็ดลุนที่ได้เก็บหอมรอม
ริบจากข้อมูลต่าง ๆ พร้อมทั้งบทวิจารณ์ของผู้เขียนที่ได้นำมาเสนอ
นี้หวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน ผู้สนใจบ่หลายก็น้อย มา
ฮอดนี้จึงขอโจะบดบั้นโยนาไว้ก่อน ตอนหน้าพุ้นยังซิกว้างกว่า
หลังแท้ดาย

(ผู้เขียน)
พระอาจารย์ผ่อง สะมาเลก

…………………………………………..

ท่ง – ทุ่ง

ควัด – ปั้น , ขุด , แกะสลัก
[ฮูปที่ควัดขึ้นจากก้อนขี้หิน – รูปที่แกะสลักขึ้นจากก้อนหิน]

กงกับ – ตรงกับ
บูฮาน – บุราณ , โบราณ
มาฮอดนี้ – มาถึงตรงนี้

โจะ , โจ๊ะ – หยุด , พักไว้ (เป็นศัพท์เก่าจริง ๆ ไม่ค่อยได้ใช้จนลืมไปแล้ว)
[อย่าฟ้าวแจกไพ่ต่อเทื่อข้อยโจ๊ะไว้ก่อนตาหนึ่ง – อย่ารีบแจกไพ่ต่อไปนะฉันขอพักไว้ก่อนหนึ่งตา]

บดบั้น , บดบั๋น – บท , เรื่อง , ข้อความตอนหนึ่ง ๆ หรือ เรื่องหนึ่ง ๆ ในหนังสือผูกใช้คำว่า บั้น เช่น
บั้นการะเกด , บั้นท้าวหมาหยุ๋ย (เรื่องการะเกด , เรื่องท้าวหมาขนฟู)เป็นต้น

โยนา – จบ , เสร็จ (น่าจะพิมพ์ผิดในหนังสือผูกเก่า ๆ ใช้ว่า โยติกา – แผลงมาจากภาษาบาลีคำว่า ยุติ)
[มาฮอดนี้จึงขอโจะบดบั้นโยนาไว้ก่อน ตอนหน้าพุ้นยังซิกว้างกว่าหลังแท้ดาย – มาถึงนี่จึงขอพักเรื่องราวยุติเอาไว้ก่อน ตอนหน้ายังจะพิสดารกว้างขวางกว่าตอนเก่าที่เล่าผ่านมากมายนัก]

ปล. เป็นสำนวนที่ในหนังสือผูกเวลาจะจบเรื่อง หมอลำก็ชอบนำไปใช้เป็นสัญญาณให้รู้ว่า จบเรื่องเล่าเรื่องเล่นแต่ยังจะมีตอนต่อไป

แชร์ :

ความคิดเห็น

** โปรดแสดงความคิดเห็นอย่างมีวิจารณญาน